เรื่องที่ 7 การสร้างแผนภูมิ

สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์และสาระการเรียนรู้ เรื่องที่ 7 การสร้างแผนภูมิ


ใบความรู้ เรื่องที่ 7 การสร้างแผนภูมิ


วีดีทัศน์ประกอบ เรื่องที่ 7 การสร้างแผนภูมิ


ใบงาน เรื่องที่ 7 การสร้างแผนภูมิ



39 thoughts on “เรื่องที่ 7 การสร้างแผนภูมิ

  1. แผนภูมิเรดาร์ : แผนภูมิแบบเรดาร์ ใช้สำหรับเปรี่ยบเทียบความแตกต่างของข้อมูล โดยเทียบกับข้อมูลที่จุดศูนย์กลาง ส่วนใหญ่ใช้ในการตัดสินใจเลือกในทางเลือกหลายทาง

  2. แผนภูมิหุ้น แผนภูมิแบบหุ้น หรือแผนภูมิแบบสูง-กลาง-ตํ่ามักจะไช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างของราคาหุ้น หุ้นทุนหรือหุ้นสามัญ (Common Stock) เป็นต้น

  3. แผนภูมิโดนัท แผนภูมิโดนัท จะใช้งานคล่ายแผนภูมิวงกลม โดยจะแสดงถึงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ กับทั้งหมด สามารถแสดงได้หลายชุด

  4. เเผนภูมิเเบบหุ้นหรือเเผนภูมิเเบบสูง-กลาง-ต่ำมักจะใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นความเเตกต่างของราคาหุ้น

  5. เส้น – แผนภูมิเส้นใช้สำหรับแสดงแนวโน้มของข้อมูลในการใช้เวลาที่เหลืออยู่ให้เท่ากันอย่างเช่นการทำแผนภูมิเส้นให้เสร็จในเวลาที่เท่ากันให้สม่ำเสมอ

  6. แผนภูมิเส้น คือ แผนภูมิเส้นใช้สำหรับแสดงแนวโน้มของข้อมูลในเวลาที่เท่ากัน เช่น 1.เส้นตั้ง 2.เส้นนอน 3.เส้นเฉียง

  7. แผนภูมิเรดาร์ รายละเอียด แผนภูมิแบเรดาร์ ใช้สำหรับเปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลโดยเทียบกับข้อมูลที่่จุดศูนย์กลางส่วนใหญ่ใช้กับการตัดสินใจเลือกในทางเลือกหลายทาง เช่น

  8. แผนภูมิพื้นที่ ใช้สำหรับเปรียบเทียบข้อมูลแต่ละชุดในลักษณะรูปพื้นที่ใต้เส้น
    เช่น ยอดขายประจำภูมิภาค และ ยอดขายตามรัฐ

  9. แผนภูมิแท่งจะมีจุดประสงค์คล้ายกับคอลัมน์ คื อ ใช้เปรียบเทียบรายการกับรายการ รายการที่ใช้เเผนภูมิแท่ง เช่น การเปรียบเทียบราคาผลไม้ เป็นต้น

  10. แผนภูมิฟอง:แผนภูมิแบบฟอง การใช้งานจะคล้ายแผนภูมิแบบกระจาย โดยข้อมูลจะแสดงเป็นรูปวงกลมหลายๆวง

  11. แผนภูมิโดนัท จากการใช้งานจะคล้ายกับแผนภูมิวงกลมโดยแสดงถึงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ
    สามารถแสดงข้อมูลได้หลายชุด

  12. แผนภมิโดนัด การใช้งานจะคล้ายกับ แผนภมิแบบวงกลมโดยแสดงถึงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆกับทั้งหมด สามารถแสดงข้อมูลได้หลายชุด

  13. เเผนภูมิเเบบโดนันการใช้งานจะคล้ายกับเเผนภูมิเเบบวงกลมโดยจะเเสดงถึงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ กับทั้งหมดสามารถเเสดงข้อมูลได้หลายชุด

  14. แผนภูมิฟอง:แผนภูมิแบบฟอง การใช้งานจะคล้ายกับเเผนภูมิแบบกระจายโดยข้อมูลจะเเสดงเป็นรูปวงกลมหลายๆ วง

  15. แผนภูมิโดนัท การใช้งานจะคล้ายกับแผนภูมิแบบวงกลมโดยจะแสดงถึงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆกับทั้งหมดสามารถแสดงข้อมูลได้หลายชุด

  16. แผนภูมิหุ้น:หรือแผนภูมิแบบสูง-กลาง-ตำ่ำ ที่มักจะใช้ในการเปรียบเทียบหุ้น เช่นหุ้นทุนหรือหุ้นสามัญ 1.(Common Stock) 2.หุ้นบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock) 3.หุ้นกู้ (Debenture) เป็นต้น

  17. แผนภูมิแบบแท่งจุดประสงค์จะคล้ายกับแบบคอลัมน์คือ ใช้สำหรับเปรียบเทียบรายการแต่ละรายการโดยที่ชนิดของข้อมูลแสดงอยู่ในแนวตั้ง(แกนy)หรือแนวนอน(แกนx)

  18. แผนภูมิแบบฟอง คล้ายการทำงานแบบแผนภูมิกระจายโดยข้อมูลจะแสดงเป็นวงกลมหลายๆวง เช่นตัวแบ่งส่วนข้อมูลที่กรองรายงานเป็นขนมปัง

  19. แผนภูมิแบบหุ้น หรือแผนภูมิแบบสูงกลาง-ตํ่ามักจะใช้ในการเปลียบเทียบให้เห็นความแตกต่างของราคาหุ้น เช่น หุ้นการขายของ เป็นต้น

  20. หุ้น แผนภูมิแบบหุ้นหรือแผนภูมิแบบสูง-กลาง-ตำ่มักจะใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นให้เห็นความแตกต่างของราคาหุ้น เช่นตารางหุ้น

  21. แผนภมิแท่งเป้นแบบแท่งจุดประสงค์คล้ายกับคอลัมน์คือใช้สำหรับเปรียบเทียบรายการแต่ละอย่าง
    เช่น การเปรียบเทียบการขายรถยนตร์ในแต่ละเดือน เป็นต้น

  22. แผนภูมิแบบหุ้น หรือแผนภูมิแบบสูง-กลาง-ต่ำมักจะใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างของราคาหุ้น เช่น แผนภูมิหุ้นการซื้อ-ขาย

ใส่ความเห็น